วันพฤหัสบดีที่ 25 สิงหาคม พ.ศ. 2554






รายชื่อนักศึกษาระดับปวส.1 สทส.1
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ประจำปีภาคเรียนที่ 1/2554
ลำดับชื่อ-สกุลชื่อเว็บไซต์บล๊อก
1นายพงศกร นามสุดใจhttp://piingpong48.blogspot.com/
2นายศุภชัย กิยะแพทย์http://suppachai-artzii.blogspot.com/
3นายชินดนัย เสมอเหมือนhttp://promkcc.blogspot.com/
4นายธันวา ไชยเดชhttp://jonaja.blogspot.com/
5นายทศพร ไทยประดิษฐ์http://bigbill235.blogspot.com/
6นายอภิศักดิ์ กองศรีhttp://exromantic.blogspot.com/
7นายขันติ เข็มทองhttp://jojoget777.blogspot.com/
8นายภานุพันธุ์ ปราณีhttp://panupan32.blogspot.com/
9นายภูวเดช โสภณธนยศhttp://phuwadhej.blogspot.com/
10นายศรายุธ ปรีชาวินิจกุลhttp://ohlor.blogspot.com/

วันพุธที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2554

วิชา การโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1

แบบฝึกหัดบทที่ 1

วิชา สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์

แบบฝึกหัดบทที่ 1

วิชา การโปรแกรมเว็บ 1

1. อินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกกันสั้นๆ ว่าอย่างไร คืออะไร
ตอบ        อินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกกันสั้น ๆ ว่า เน็ต คือระบบเครือข่ายที่ให้ที่สุด ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์หลายล้านเครื่องเข้าด้วยกัน จนเรียกได้ว่าเป็น เครือข่ายไร้พรมแดน โดยอาศัยโครงสร้างระบบสื่อสารโทรคมนาคมเป็นตัวกลางในการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่สะดวกและรวดเร็ว

2. ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ตมีลักษณะอย่างไร
ตอบ        ลักษณะของระบบอินเทอร์เน็ตจะอยู่ในลักษณะ ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์” (Client-Server)คือมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์คือ เครื่องแม่ข่าย หรือ ผู้ให้บริการกับเครื่องที่เป็นไคลเอนท์ คือ เครือลูกข่ายหรือผู้ขอใช้บริการที่การติดต่อสื่อสารกันตลอดเวลา ในการติดต่อสื่อสารจะมีชื่อที่อยู่เพื่อจะ ได้ทราบว่า ข้อมูลถูกส่งมาจากไหน และมีปลายทางอยู่ที่ใด ซึ่งชื่อที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในอินเทอร์เน็ตจะเรียกว่า ไอพี แอดเดรส” (IP Address) เป็นตัวเลขล้วน ๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0-255 ค้นด้วยจุด เช่น 202.146.15.9

3. “ไคเอนท์-เซิร์ฟเวอร์” (Client-Server)  คืออะไร
ตอบ        ไคลเอนท์-เซิร์ฟเวอร์” (Client-Server) คือมีเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์คือ เครื่องแม่ข่าย หรือ ผู้ให้บริการกับเครื่องที่เป็นไคลเอนท์ คือ เครือลูกข่ายหรือผู้ขอใช้บริการที่การติดต่อสื่อสารกันตลอดเวลา ในการติดต่อสื่อสารจะมีชื่อที่อยู่เพื่อจะ ได้ทราบว่า ข้อมูลถูกส่งมาจากไหน และมีปลายทางอยู่ที่ใด ซึ่งชื่อที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในอินเทอร์เน็ตจะเรียกว่าไอพี แอดเดรส” (IP Address) เป็นตัวเลขล้วน ๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0-255 ค้นด้วยจุด เช่น202.146.15.9
4. ชื่อที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในอินเทอร์เน็ตเรียกกันว่าอย่างไร พร้อมยกตัวอย่าง
ตอบ        ชื่อที่อยู่ของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในอินเทอร์เน็ตจะเรียกว่า ไอพี แอดเดรส” (IP Address) เป็นตัวเลขล้วน ๆ 4 ชุด แต่ละชุดมีค่าระหว่าง 0-255 ค้นด้วยจุด เช่น 202.146.15.9
5. บอกประโยชน์ของอินเทอร์เน็ตมาอย่างน้อย 5 อย่าง
ตอบ      1. ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic mail=E-mail) เป็นการส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ผ่านเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยผู้ส่งจะต้องส่งข้อความไปยังที่อยู่ของผู้รับ และแนบไฟล์ไปได้ 
            
 2. เทลเน็ต (Telnet) การใช้งานคอมพิวเตอร์อีกเครื่องหนึ่งที่อยู่ไกล ๆ ได้ด้วยตนเอง เช่น สามารถเรียกข้อมูลจากโรงเรียนมาทำที่บ้านได้ 
         
    3. การโอนถ่ายข้อมูล (File Transfer Protocol ) ค้นหาและเรียกข้อมูลจากแหล่งต่างๆมาเก็บไว้ในเครื่องของเราได้ ทั้งข้อมูลประเภทตัวหนังสือ รูปภาพและเสียง 
         
    4. การสืบค้นข้อมูล (Gopher,Archie,World wide Web) การใช้เครือข่ายอินเทอร์เน็ตในการค้นหาข่าวสารที่มีอยู่มากมาย ใช้สืบค้นข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ทั่วโลกได้ 
            
 5. การแลกเปลี่ยนข่าวสารและความคิดเห็น (Usenet) เป็นการบริการแลกเปลี่ยนข่าวสารและแสดงความคิดเห็นที่ผู้ใช้บริการอินเทอร์เน็ตทั่วโลก แสดงความคิดเห็นของตน โดยกลุ่มข่าวหรือนิวกรุ๊ป (Newgroup) แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน 
            
 6. การสื่อสารด้วยข้อความ (Chat,IRC-Internet Relay chat) เป็นการพูดคุย โดยพิมพ์ข้อความตอบกัน ซึ่งเป็นวิธีการสื่อสารที่ได้รับความนิยมมากอีกวิธีหนึ่ง การสนทนากันผ่านอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนเรานั่งอยู่ในห้องสนทนาเดียวกัน แม้จะอยู่คนละประเทศหรือคนละซีกโลกก็ตาม 
         
    7. การซื้อขายสินค้าและบริการ (E-Commerce = Electronic Commerce) เป็นการซื้อ - สินค้าและบริการ ผ่านอินเทอร์เน็ต 
         
    8. การให้ความบันเทิง (Entertain) บนอินเทอร์เน็ตมีบริการด้านความบันเทิงหลายรูปแบบต่างๆ เช่น รายการโทรทัศน์ เกม เพลง รายการวิทยุ เป็นต้น เราสามารถเลือกใช้บริการเพื่อความบันเทิงได้ตลอด 24 ชั่วโมง
6. ยกตัวอย่างภัยจากอินเทอร์เน็ตที่มีต่อเยาวชนไทยในปัจจุบันมา 3 ข้อ
ตอบ        1. สื่อลามกผ่านอินเทอร์เน็ต เช่น เว็บบอร์ดลับส่งภาพหรือไฟล์ลามกผ่านทางอีเมล์
                2.  การแชท (Chat) สนทนาผ่านอินเทอร์เน็ต
                3. การติดเกมส์ออนไลน์
                4. การกระทำพฤติกรรมที่ไม่มีเหมาะสมที่เรียกกันว่า” (Webcam) หรือโชว์สัดส่วนทางแคมฟร็อก (cam frog)

7. เวิล์ดไวต์เว็บ (World Wide Web หรือ WWW หรือ W3) คืออะไร
ตอบ        เวิลด์ไวด์เว็บ (World Wide Web หรือ WWW หรือ W3 หรือ Web) คือ บริการค้น
หรือเรียกดู ข้อมูลแบบหนึ่ง ในอินเทอร์เน็ต ข้อมูลในเวิลด์ไวด์เว็บ จะอยู่ในแบบสื่อผสม หรือ
มัลติมีเดีย (multimedia)
 ที่มีทั้งตัวอักษร รูปภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหวแบบวิดีโอ 
ข้อมูลจะถูกแบ่งเป็นหน้า ๆ แต่ละหน้าสามารถ เชื่อมโยงถึงกันได้
เป็นแบบเครือข่ายคล้ายใยแมงมุม จากแหล่งต่าง ๆ ที่กระจายอยู่ทั่วโลก

8. รูปแบบของ FTP แบ่งได้เป็นกี่แบบ อะไรบ้าง
ตอบ        รูปแบบของ FTP แบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ
                1. Download คือ การคัดลอกข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์หรือจากคอมพิวเตอร์อื่นมายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ เช่น การดาวน์โหลดโปรแกรมหรือเกมส์จาก ผู้ผลิตมายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ ดังตัวอย่าง
               
                2. Upload คือ การคัดลอกข้อมูลในเครื่องของผู้ใช้ไปไว้ที่เซิร์ฟเวอร์หรือคอมพิวเตอร์อื่นเว็บเพจเสร็จแล้วต้อง เช่นการสร้าง Upload เว็บเพจ ไปไว้ที่เครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายในอินเทอร์เน็ตเพื่อเผยแพร่ข้อมูล ดังตัวอย่าง

9. เว็บบราวเซอร์ (Web Browser) หมายถึงอะไร
คอบ        เว็บบราวเซอร์ (Web Browser) คือ โปรแกรมที่ใช้เปิดเว็บเพจ หรือเรียกสั้นๆว่า“[บราวเซอร์ มีหน้าที่ติดต่อเว็บเซิร์ฟเวอร์เพื่อขอข้อมูลที่ต้องการมาแสดงที่หน้าจอของโปรแกรม เช่น โปรแกรม Internet Explorer (IE) , โปรแกรม Netscape Navigator , โปรแกรม Open ,โปรแกรม Firefox  เป็นค้น

10. URL (Uniform Resource Locator) คืออะไร ยกตัวอย่างรูปแบบ URL
ตอบ        URL (Uniform Resource Locator) คือ การเข้าถึงข้อมูลใด ๆ ในอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นเว็บเพจ หรือไฟล์ประเภทอื่นจะต้องรู้ที่อยู่ (Address) 



ตอนที่ 2
1. ไอพีแอดเดรส  ในอินเทอร์เน็ตเปรียบเสมือนข้อใด
ตอบ        . เลขที่บ้าน
2. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ทำหน้าที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ตรงกับข้อใด
ตอบ        . เครื่องแม่ข่าย
3. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ต
ตอบ        ข. ส่งพัสดุภัณฑ์
4. เวิลด์ไวด์เว็บเป็นแหล่งข้อมูลขนาดยักษ์จะพบข้อมูลประเภทใดบ้าง
ตอบ        ง. ถูกหมดทุกข้อ
5. ชื่อที่อยู่ของ E-mail เรียกกันว่าอย่างไร
ตอบ        ค. E-mail Address
6. FTP ย่อมาจากข้อใด
ตอบ        ง. File Transfer Protocol
7. ข้อใดคือความหมายของ FTP
ตอบ        ค. การโอนย้ายข้อมูล
8. การคัดลอกข้อมูลจากเซิร์ฟเวอร์มายังเครื่องผู้ใช้หมายถึงข้อใด
ตอบ        ข. Download
9. การคัดลอกข้อมูลในเครื่องของผู้ใช้ไปไว้ที่เซิร์ฟเวอร์ หมายถึงข้อใด
ตอบ        ก. Upload
10. ข้อใดหมายถึงการให้บริการแบบทางไกล
ตอบ        ค. Remote
11. เว็บเพจ (Web Page) หมายถึงข้อใด
ตอบ        ข. ไฟล์ 1 ไฟล์ คือเว็บเพจ 1 หน้า
12. เว็บไซต์ (Web Site) หมายถึงข้อใด
ตอบ        ก. กลุ่มของเว็บเพจหลายหน้า
13. โฮมเพจ (Homepage) หมายถึงข้อใด
ตอบ        ค. เว็บเพจหน้าแรก
14. เว็บเซิร์ฟเวอร์ (Web Server) คือข้อใด
ตอบ        ง.ทำหน้าที่เก็บเว็บไซต์
15. ข้อใดคือหน้าที่หลักของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
ตอบ        ง.ถูกทุกข้อ


วิชา ระบบฐานข้อมูล

แบบฝึกหัดบทที่ 1



    ฐานข้อมูล (Database) หมายถึง กลุ่มของข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน และนำมาจัดเก็บในที่เดียวกัน

     ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน รูปแบบเป็นระเบียบแบบแผน และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน

      ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS)  Database Management System หมายถึง โปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูล เพื่ออำนวยความ สะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล   เสมือนเป็นตัวกลางระหว่าง ผู้ใช้กับฐานข้อมูล

1.สรุปเนื้อหาหน่วยที่ 1
     ฐานข้อมูล (Database) 
          ฐานข้อมูล  คือข้อมูลจำนวนมากที่มีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบในลักษณะของตาราง และข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นต่างมีความสัมพันธ์กัน
     ระบบฐานข้อมูล (Database System)
          ระบบฐานข้อมูล คือ ระบบการจัดเก็บข้อมูลที่มีความสัมพันธ์กัน เกี่ยวข้องเป็นเรื่องเดียวกัน โดยมีรูปแบบการจัดเก็บที่เป็นระเบียบแบบแผน  และจัดเก็บไว้ในที่เดียวกัน เช่น ข้อมูลพนักงาน ข้อมูลลูกค้า ข้อมูลสินค้าคงคลัง และข้อมูลพนักงานขาย เป็นต้น
     ระบบจัดการฐานข้อมูล (Database Management System : DBMS)
          
ระบบจัดการฐานข้อมูล คือโปรแกรมที่ทำหน้าที่ในการกำหนดลักษณะข้อมูลที่จะเก็บไว้ในฐานข้อมูลเพื่ออำนวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลลงในฐานข้อมูล กำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูลได้ พร้อมกับกำหนดด้วยว่าให้ใช้ได้แบบใด เช่น ให้อ่านข้อมูลได้อย่างเดียว หรือให้แก้ไขข้อมูล ได้ด้วย
     
ประโยชน์ในการใช้ระบบฐานข้อมูล
          
เมื่อมีการนำระบบจัดการฐานข้อมูลมาใช้เพื่ออ านวยความสะดวกในการบันทึกข้อมูลแก้ไขปรับปรุงข้อมูล ค้นหาข้อมูล รวมทั้งกำหนดผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ใช้ฐานข้อมูล เป็นต้น ท าให้ฐานข้อมูลมีประโยชน์มากมาย ได้แก่
          1. ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล เมื่อมีข้อมูลของหน่วยงานซึ่งจัดเก็บไว้หลายที่ อาจมีข้อมูลใน ส่วนที่เหมือนกันหลายส่วน เช่น ฝ่ายบัญชี เก็บข้อมูล ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ของพนักงาน และฝ่ายบุคคล เก็บข้อมูล ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ของพนักงาน เมื่อน าคอมพิวเตอร์มาใช้จัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปของฐานข้อมูล จะทำให้ไม่เก็บข้อมูลซ้ าซ้อนกัน ซึ่งทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะสามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้ เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และทำให้เกิดความรวดเร็วในการค้นหาและจัดเก็บข้อมูลอีกด้วย
          2. ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล  ถ้ามีการแก้ชื่อ ถ้ามีการแก้ชื่อ ที่อยู่ ที่ฝ่ายบุคคล ชื่อและ ที่อยู่ที่ฝ่ายบัญชีก็จะถูกเปลี่ยนแปลงด้วย เนื่องจากฝ่ายบัญชีจะดึงข้อมูลชื่อและที่อยู่จากฝ่ายบุคคลมาใช้ ดังนั้นเมื่อมีการแก้ไขข้อมูลในที่ใดที่หนึ่ง ข้อมูลอีกที่หนึ่งก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย
          3. ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล  ผู้บริหารระบบฐานข้อมูลสามารถกำหนดกฎเกณฑ์ในการนำ เข้าข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล จะคอยควบคุมให้มีการนำเข้าข้อมูลเป็นไปตามกฎเกณฑ์เพื่อให้มีความถูกต้อง
          4. สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้  การเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน จะสามารถกำหนดรูป แบบที่แน่นอนได้ และแต่ละฝ่ายสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้เพราะเป็นมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถจัดให้ผู้ใช้แต่ละคนเข้าใช้ข้อมูลในแฟ้มที่มีข้อมูลเดียวกันได้ในเวลาเดียวกัน เช่น ฝ่ายบุคคลและฝ่ายการเงิน สามารถที่จะใช้ข้อมูลจากแฟ้มประวัติพนักงานในระบบฐานข้อมูลได้พร้อมกัน
          5. มีความปลอดภัย การที่ข้อมูลมารวมอยู่ในที่เดียวกัน สามารถวางมาตรฐานในการแก้ไขและ ป้องกันได้ดีกว่า จึงไม่มีการรั่วไหลของข้อมูลไปสู่ผู้ไม่ควรรู้ และสามารถกำหนดรหัสผ่านเข้าใช้งานข้อมูลของผู้ใช้แต่ละราย โดยระบบการจัดการฐานข้อมูลจะทำการตรวจสอบสิทธิ์ในการท างานกับข้อมูล เช่น การเรียกดูข้อมูล การลบข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล และการเพิ่มข้อมูลในแต่ละแฟ้มข้อมูล เป็นต้น
          6. ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน ก่อนที่จะมีการจัดเก็บข้อมูล ต้องมีการตกลง รูปแบบการเก็บอย่างเป็นเอกฉันท์เสียก่อน ทำให้ไม่เสียเวลาในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
          7. ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย เมื่อข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้รับการดูแลปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง ทำให้ข้อมูลที่จัดเก็บเป็นข้อมูลที่มีความทันสมัย ตรงกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน และตรงกับความต้องการอยู่เสมอ
        
          แต่อย่างไรก็ตาม ในการใช้ฐานข้อมูลนั้น ถึงแม้ว่าการประมวลผลด้วยระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีข้อดีหลายประการ แต่ก็จะมีข้อเสียอยู่บ้างดังต่อไปนี้
          1. เสียค่าใช้จ่ายสูง
 เนื่องจากโปรแกรมที่ใช้ในระบบจัดการฐานข้อมูลจะมีราคาค่อนข้างแพง   รวมทั้งเครื่องคอมพิวเตอร์ที่มีประสิทธิภาพสูง คือต้องมีความเร็วสูง มีขนาดหน่วยความจำและหน่วยเก็บข้อมูลสำรองที่มีความจุมาก ทำให้ต้องเสียค่าใช้จ่ายสูงในการจัดท าระบบจัดการฐานข้อมูล
          2. เกิดความสูญเสียข้อมูลได้ เนื่องจากข้อมูลต่าง ๆ ภายในฐานข้อมูลจะถูกจัดเก็บอยู่ในที่เดียว กัน ดังนั้นถ้ามีการจัดเก็บข้อมูลเกิดมีปัญหา อาจทำให้ต้องสูญเสียข้อมูลทั้งหมดในฐานข้อมูลได้ ดังนั้นการจัดทำฐานข้อมูลที่ดีจึงต้องมีการสำรองข้อมูลไว้เสมอ


ตอนที่ 1   2. ทำการวัดและประเมินผลผลการผ่านจุดประสงค์

     1. ระบบจัดการฐานข้อมูล (DBMS) คืออะไร
          ตอบ      ข.  ตัวกลางระหว่างผู้ใช้กับฐานข้อมูล
     2.  หลังจากที่สร้างฐานข้อมูลแล้ว จะต้องสร้างออบเจ็กต์ใดเป็นอันดับแรก
          ตอบ      ก.  Table
     3.  ออบเจ็กต์ใดที่ทำหน้าที่การเก็บข้อมูลทั้งหมดลงฐานข้อมูล
          ตอบ      ข.  Query
     4.  ออบเจ็กต์ Query มีหน้าที่ทำอะไร
          ตอบ      ค.  สร้างแบบสอบถามข้อมูล
     5.  ข้อใดต่อไปนี้เป็นหน้าที่ของออบเจ็กต์ Form
          ตอบ      ข.  เก็บข้อมูลลงฐานข้อมูล
     6.  ข้อใดต่อไปนี้ ไม่ใช กฎของการ Normalization
          ตอบ      ข.  จะต้องมีความสัมพันธ์แบบเชิงกลุ่ม (Many-to-Many)
     7.  ข้อใด ไม่ใช่ ประโยชน์ที่ได้รับของระบบฐานข้อมูล
          ตอบ      ค.  ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย
     8.  ขั้นตอนใดต่อไปนี้เป็นขั้นตอนแรกในการออบแบบฐานข้อมูล
          ตอบ      ก.  กำหนดวัตถุประสงค์ในการใช้งาน
     9.  ส่วนประกอบต่อไปนี้เพิ่มเข้ามาใหม่ใน Access 2007 ยกเว้น ข้อใด
         ตอบ       ง.  Ribbon
     10.  ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด 
         ตอบ       ก.  เมื่อบันทึกฐานข้อมูลใน Access 2007 จะมีนามสกุล .accdb 

ตอนที่ 2   แบบจับคู่ คำชี้แจง ให้นักเรียนจับคู่คำต่อไปนี้ให้ถูกต้อง 

1.  ช.  DBMS                                  ก. แถบในการแสดงออบเจ็กต์ที่สร้างขึ้น
2.  จ.  Normalization                      ข. แบบสอบถามข้อมูล   
3.  ซ.  Office Button                      ค. ส่วนของพื้นที่การทำงานของออบเจ็กต่าง ๆ
4.  ญ. Quick Access Toolbar        ง.  ชุดคำสั่งกระทำการต่าง ๆ ที่นำมารวมกัน  
5.  ฌ. Ribbon                                   จ.  กฎที่ใช้ในการออบแบบตาราง
6.  ก.  Navigation Pane                  ฉ. โปรแกรมย่อยที่เขียนขึ้นภาษา VBA
7.  ค.  Document Window            ช.  ระบบจัดการฐานข้อมูล
8.  ข.  Query                                    ซ.  ปุ่มที่รวบรวมชุดคำสั่งในการจัดการฐานข้อมูล
9.  ง.  Macro                                    ฌ.  ส่วนการทำงานใหม่ที่เข้ามาแทนที่แถบเมนูและ
                                                                  แถบเครื่องมือ
10. ฉ. Module                                 ญ.  แถบเครื่องมือที่รวบรวมปุ่มเครื่องมือที่ใช้งานบ่อย ๆ
                                                                  เอาไว้ 

ตอนที่ 3   

    
1.  จงอธิบายถึงความหมายของฐานข้อมูล
           ฐานข้อมูล  (Database)  คือข้อมูลจำวนมากที่มีการจัดเก็บไว้อย่างเป็นระเบียบในลักษณะของตาราง และข้อมูลแต่ละตารางที่มีอยู่นั้นต่างมีความสัมพันธ์กัน ซึ่งในการสร้างตารางเพื่อใช้ในการเก็บข้อมูล เป็นสิ่งที่ต้องทำป็นอันดับแรก หรือเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่จะต้องนำปใช้งานต่อไป 

      
2.  ระบบฐานข้อมูลมีประโยชน์อย่างไร            
            1.  ลดความซ้ำซ้อนของข้อมูล เมื่อมีข้อมูลของหน่วยงานซึ่งจัดเก็บไว้หลายที่ อาจมีข้อมูลใน ส่วนที่เหมือนกันหลายส่วน เช่น ฝ่ายบัญชี เก็บข้อมูล ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ของพนักงาน และฝ่ายบุคคล เก็บข้อมูล ชื่อ ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ของพนักงาน เมื่อนำคอมพิวเตอร์มาใช้จัดเก็บข้อมูลให้อยู่ในรูปของฐานข้อมูล จะทำห้ไม่เก็บข้อมูลซ้ำซ้อนกัน ซึ่งทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องจะสามารถเรียกใช้ข้อมูลที่ต้องการได้ เป็นการประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ และทำให้เกิดความรวดเร็วในการค้นหาและจัดเก็บข้อมูลอีกด้วย
            2.  ทำให้เกิดความสอดคล้องของข้อมูล ถ้ามีการแก้ชื่อ ถ้ามีการแก้ชื่อ ที่อยู่ ที่ฝ่ายบุคคล ชื่อและ ที่อยู่ที่ฝ่ายบัญชีก็จะถูกเปลี่ยนแปลงด้วย เนื่องจากฝ่ายบัญชีจะดึงข้อมูลชื่อและที่อยู่จากฝ่ายบุคคลมาใช้ ดังนั้นเมื่อมีการแก้ไขข้อมูลในที่ใดที่หนึ่ง ข้อมูลอีกที่หนึ่งก็จะถูกเปลี่ยนไปด้วย
            3.  ควบคุมความถูกต้องของข้อมูล ผู้บริหารระบบฐานข้อมูลสามารถกำหนดกฎเกณฑ์ในการนำ เข้าข้อมูล และระบบจัดการฐานข้อมูล จะคอยควบคุมให้มีการน าเข้าข้อมูลเป็นไปตามกฎเกณฑ์เพื่อให้มีความถูกต้อง
            4.  สามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้ การเก็บข้อมูลไว้ในฐานข้อมูลเดียวกัน จะสามารถกำหนดรูป
แบบที่แน่นอนได้ และแต่ละฝ่ายสามารถใช้ข้อมูลร่วมกันได้เพราะเป็นมาตรฐานเดียวกัน เนื่องจากระบบการจัดการฐานข้อมูลสามารถจัดให้ผู้ใช้แต่ละคนเข้าใช้ข้อมูลในแฟ้มที่มีข้อมูลเดียวกันได้ในเวลาเดียวกัน เช่น ฝ่ายบุคคลและฝ่ายการเงิน สามารถที่จะใช้ข้อมูลจากแฟ้มประวัติพนักงานในระบบฐานข้อมูลได้พร้อมกัน
            5.  มีความปลอดภัย การที่ข้อมูลมารวมอยู่ในที่เดียวกัน สามารถวางมาตรฐานในการแก้ไขและ ป้องกันได้ดีกว่า จึงไม่มีการรั่วไหลของข้อมูลไปสู่ผู้ไม่ควรรู้ และสามารถก าหนดรหัสผ่านเข้าใช้งานข้อมูลของผู้ใช้แต่ละราย โดยระบบการจัดการฐานข้อมูลจะท าการตรวจสอบสิทธิ์ในการท างานกับข้อมูล เช่น การเรียกดูข้อมูล การลบข้อมูล การปรับปรุงข้อมูล และการเพิ่มข้อมูลในแต่ละแฟ้มข้อมูล เป็นต้น
            6.  ขจัดความขัดแย้งในการใช้ข้อมูลร่วมกัน ก่อนที่จะมีการจัดเก็บข้อมูล ต้องมีการตกลง
รูปแบบการเก็บอย่างเป็นเอกฉันท์เสียก่อน ท าให้ไม่เสียเวลาในการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
            7.  ข้อมูลที่จัดเก็บมีความทันสมัย เมื่อข้อมูลในระบบฐานข้อมูลได้รับการดูแลปรับปรุงอย่าง ต่อเนื่อง ทำให้ข้อมูลที่จัดเก็บเป็นข้อมูลที่มีความทันสมัย ตรงกับเหตุการณ์ในปัจจุบัน และตรงกับความต้องการอยู่เสมอ 

      
3.  ใน Microsoft Access 2007 ประกอบไปด้วยออบเจ็กต์อะไรบ้าง และมีหน้าที่อย่างไร 
            1.Table ใช้ในการเก็บข้อมูลทั้งหมด
            2.Queries ช่วยค้นหาหรือสร้างแบบสอบถามข้อมูล
            3.Froms แบบฟอร์มในการทำงาน สำหรับจัดการกับข้อมูลแทนการจัดการในตาราง
            4.Report ใช้ในการสร้างรายงาน
            5.Macros ชุดคำสั่งที่นำมาร่วมกันตามขั้นตอนในการทำงานเพื่อให้การทำงานเป็นอัตโนมัติ
            6.Modules ช่วยให้ทำงานกับข้อมูลที่ซับซ้อนมากขึ้นได้

      
4.  จงอธิบายหลักการออกแบบฐานข้อมูลมาพอใจ
            ก่อนที่เราจะเริ่มสร้างฐานข้อมูลนั้น จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องทำการออกแบบฐานข้อมูลเสียก่อน ว่าข้อมูลที่จะนำมาเก็บในฐานข้อมูลประกอบไปด้วยอะไรบ้าง และมีการจัดเก็บในรูปแบบใด แล้วค่อยเริ่มต้นสร้างฐานข้อมูล
       
      
5.  จงยกตัวอย่างระบบงานที่ควรนำระบบฐานข้อมูลเข้ามาใช้ พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล     
           งานทะเบียน เพราะว่าเป็นงานที่เกี่ยวกับประวัติของพนักงานหรือนักเรียนทั้งหมด ซึ่งมีข้อมูลต่างๆหลายอย่างมาเก็บข้อมูลไว้ได้ง่าย





 บทที่ 2   การวัดและประเมิณผ่านจุดประสงค์

ตอนที่1

1. ข้อใดกล่าวถึงความหมายของตาราง (table) ได้ชัดเจนมากที่สุด
    ค. ออบเจ็กต์ที่อยู่ในฐานข้อมูล
2. ข้อใดต่อไปนี้ กล่าวผิด
    ง. Attachment  เป็นชนิดข้อมูลสำหรับสร้างจุดเชื่อมโยง
3. ฟิวด์  (field)  หมายถึงอะไร
    ค. คอลัมน์
4. เรคคอร์ด (Record) หมายถึงอะไร
    ก. ตาราง
5. ชนิดข้อมูลแบบข้อความ (Text)  สามารถเก็บข้อมูลได้สูงสุดกี่ตัวอักษร
    ค. 255
6. ถ้าต้องการกำหนดฟิลด์ในการเก็บข้อความจำนวนมากๆ จะต้องเลือกชนิดข้อมูลแบบใด
    ข. Text
7. มุมมองที่ใช้ในการสร้างตารางด้วยการออกแบบเองคือมุมมองใด
    ก. Design View
8. ชนิดความสัมพันธ์ของตารางมีกี่แบบ
    ข. 3แบบ
9. ข้อใดต่อไปนี้ไม่สามารถ นำมาประกอบในการตั้งฟิลด์ข้อมูลได้
    ง. เคลื่องหมายจุด ( . )
10. ถ้าต้องการเรียงลำดับข้อมูลในตารางจากน้อยไปหามากจะต้องใช้เครื่องมือใด
      ค. Filter


ตอนที่ 2
1. Field                   ก. กำหนดรูปแบบในการป้อนข้อมูล 
2. Record                 ข. เก็บข้อมูลประเภทรูปภาพ
3. Memo                  ค. เรียงลำดับข้อมูลจากน้อยไปหามาก
4. OLE Object         ง. ข้อมูลในแนวแถว
5. Currency             จ. เก็บข้อมูลประเภทข้อความที่มีความยาวมาก ๆ
6. Attachment         ฉ. กำหนดรูปแบบการแสดงข้อมูล
7. Input Mark          ช. เรียงลำดับข้อมูลจากมากไปหาน้อย
8. Format                 ซ. เก็บข้อมูลที่เป็นตัวเลขทางการเงิน
9. Descending          ฌ. ข้อมูลในแถวคอลัมน์
10.Ascending          ญ. เก็บเอกสารและแฟ้มไบนารี่ทุกชนิดในฐานข้อมูล

ตอนที่ 3
1. จงอธิบายถึงประโยชน์ที่ได้รับจากการสร้างตาราง
ตอบ   จัดเก็บข้อมูลได้ง่าย สะดวก เร็ว และผิดพลาดได้ยากกว่าการคีย์ข้อมูลแบบธรรมดา
2. จงอธิบายถึงคุณสมบัติในการเลือกฟิลด์ข้อมูลที่จะนำมาเป็นคีย์หลัก (Primary Key)
ตอบ   ฟิลด์ที่มีข้อมูลในเรคคอร์ดไม่ซ้ำกัน
3. อธิบายถึงข้อความแตกต่างในการสร้าง ตารางด้วยมุมมองการออกแบบ (Table Design) และมุมมองแผ่นตารางข้อมูล(Datasheet View)
ตอบ   Table Design เป็นมุมมองที่ใช้ในการกำหนดตาราง
           Datasheet View เป็นมุมมองที่มใฃ้ในการป้อนข้อมูลที่ต้องการเก็บลงในตาราง
4. จงบอกขั้นตอนในการสร้างตารางด้วยมุมการออกแบบมีขั้นตอนอย่างไร
ตอบ   4.1  ไปที่ Create 
           4.2  ไปที่ Table Design ในกลุ่มของtable จะมีตารางข้อมูลเปล่า
           4.3  กำหนดฟิลด์ข้อมูล แล้วกด Tab เพื่อไปอีกช่องหนี่ง 
           4.4  เลือกชนิดข้อมูล
           4.5  กำหนดคำอธิบายฟิลด์ 
           4.6  กำหนดคุณสมบัติฟิลด์เพิ่มเติม
           4.7  กด save จาก quick Acces Toolbar
           4.8  กำหนดชื่อตาราง 
           4.9  กด Ok
           4.10  จะมีไดอะล็อกบ็อกซ์ให้กำหนดคีย์หลัก
5. ในการสร้างตาราง ด้วยการออกแบบ Template มีข้อดีและข้อเสียอย่างไร 
ตอบ   ข้อดีคือสร้างได้รวดเร็ว ข้อเสียคือมีความสลับซับซ้อนในการทำ